วันพฤหัสบดีที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

สรุปคัมภีร์เวชศึกษา

คัมภีร์เวชศึกษา กล่าวถึงสาเหตุการเกิดโรค และ วิธีการตรวจโรคต่างๆ

กิจ๔ ของหมอ
รู้จักที่ตั้งแรกเกิดของโรค (สมุฏฐาน)  
รู้จักชื่อโรค                    
รู้จักยารักษาโรค
รู้จักว่ายาอย่างใดรักษาโรค
  ธาตุสมุฏฐาน   
  อุตุสมุฏฐาน       
  อายุสมุฏฐาน   
  กาลสมุฏฐาน  
  ประเทศ           
  พฤติกรรม  
ตามธาตุพิการ
ตามที่สมมุติในคัมภีร์
ตามภูมิประเทศ
สมุฏฐานเบญจอินทรีย์
จักขุโรโค -  ตา  
โสตโรโค-  หู     
 ฆานโรค จมูก   
 ชิวหาโรโค  -ปาก
 กายโรโค    ร่างกาย
 (พหิทธโรโค ภายนอก
 อันตโรโค   ภายใน)
(รู้หลักเภสัช  ประการ)
เภสัชวัตถุ
สรรพคุณเภสัช  
คณาเภสัช
เภสัชกรรม
รู้วิธีซักประวัติและวิเคราะห์โรค
 ประวัติบุคคล
 ประวัติโรค
 การตรวจร่างกาย
 การตรวจอาการ
 วิเคราะห์ข้อมูล 

ที่ตั้งแรกเกิดของโรค
ธาตุสมุฏฐาน(กองสมุฏฐาน)

 ปถวีธาตุ ( ๒๐ประการ)

 อาโปธาตุ  (๑๒  ประการ)

วาโยธาตุ  (๖ ประการ)

เตโชธาตุ  (  ประการ




ปิตตะสมุฏฐานาอาพาธา  อาพาธด้วย  ดี

วาตะสมุฏฐานาอาพาธา  อาพาธด้วย  ลม

เสมหะสมุฏฐานาอาพาธา  อาพาธด้วย  เสลด

สมุฏฐานทั้ง    ประชุมกัน   เรียก   สันนิปาติกา  อาพาธา  (อาพาธด้วยโทษประชุมกัน)
ธาตุทั้ง    กอง มักจะพิการมิได้ขาดหากฤดูผันแปรวิปริต
ปิตตะสมุฏฐาน (๗วัน)
วาตะสมุฏฐาน(๑๐ วัน)
เสมหะสมุฏฐาน(๑๒ วัน)
๑. พัทธปิตตะ(ดีในฝักหัวใจขุ่นมัว เพ้อคลั่ง  วิกลจริต 
๒.อพัทธปิตตะ(ดีนอกฝักปวดหัวตัวร้อน สะท้านร้อน
.   สุขุมวาตะ(ลมกองละเอียด)   จับดวงใจ อ่อนหวิว  สวิงสวาย  เวียนหัว หน้ามืด 
โอฬาริกวาตะ(ลมกองหยาบจุกเสียด  แน่นเฟ้อ   ปวดท้อง ท้องเป็นเถาดาน  
ศอเสมหะ(เสลดที่คอ)เป็นหืดไอ  เจ็บคอ  คอแห้ง
อุระเสมหะ(เสลดที่ทรวงอก)ผอมเหลืองเป็นดานเถา  แสบในอก
สะท้านหนาว จับไข้  แสบในอก อกแห้ง
คูถเสมหะ(เสลดที่ลำไส้ส่วนล่างให้ตกอุจจาระ  เป็นบิด  มูกเลือด

อุตุสมุฏฐาน
ฤดู  
๑. คิมหันตฤดู สันตัปปัคคี
.วสันต ฤดู  กุจฉิสยาวาตา
.เหมันตฤดู  เสมหะและโลหิต
               ฤดู   
ฤดู ๑   สมุฏฐาน เตโช
ฤดู    สมุฏฐาน วาโย
ฤดู     สมุฏฐาน อาโป
ฤดู    สมุฏฐาน  ปถวี
                     ฤดู  
ฤดู    ด้วยดี กำเดา  เตโช
ฤดู    เพื่อเตโช วาโย ระคน
ฤดู    เพื่อวาโยและเสมหะ
ฤดู ๔  เพื่อ ลม เสมหะและมูตร
ฤดู ๕ เพื่อ เสมหะ กำเดา โลหิต
ฤดู    เพื่อลม  กำเดา โลหิต เสมหะ  
 
อายุสมุฏฐาน
ปฐมวัย 
(แรกเกิด-๑๖ ปี) แบ่งเป็น๒ช่วง 
แรกเกิด ๘ ปี  เสมหะเจ้าเรือน 
โลหิตแทรก 
-  ๑๖  ปี  โลหิตเจ้าเรือน 
เสมหะยังเจือ 
มัชฌิมวัย
(๑๖๓๒ ปี)  
สมุฏฐานอาโป
โลหิต ๒  วาโย ๑
ปัจฉิมวัย
 (๓๒ ปี ถึงอายุขัย) แบ่งเป็น๒ช่วง
๓๒๖๔  สมุฏฐานวาโย
๖๔ ขึ้นไป วาโยเจ้าเรือนอาโปแทรก
 เสมหะและเหงื่อ


กาลสมุฏฐาน (กาล ๔)
กลางวัน                                                            กลางคืน
ยาม๑ (๐๖.๐๐๐๙.๐๐ น.)     อาโป พิกัดเสมหะ     (๑๘.๐๐๒๑.๐๐ น.)
ยาม ๒( ๐๙.๐๐๑๒.๐๐  .)  อาโปพิกัดโลหิต     (๒๑.๐๐๒๔.๐๐ น. )
ยาม  (๑๒.๐๐๑๕.๐๐   .)   อาโปพิกัด ดี         (๒๔.๐๐๐๓.๐๐  .)
ยาม  (๑๕.๐๐๑๘.๐๐ น.)      วาโย                     (๐๓.๐๐๐๖.๐๐ น.)
ประเทศสมุฏฐาน
พฤติกรรมก่อโรค ๘ ประการ
พื้นที่  สูง ภูเขา          ประเทศ  ร้อน  สมุฏฐาน  เตโช
พื้นที่  น้ำกรวดทราย  ประเทศ อุ่น สมุฏฐาน อาโป ดี โลหิต
พื้นที่ น้ำฝนเปือกตม  ประเทศ เย็น  สมุฏฐาน  วาโย
พื้นที่ น้ำเค็มเปือกตม  ประเทศ หนาว  สมุฏฐาน  ปถวี
อาหาร  อิริยาบถ  อากาศ  อดนอน อดกลั้นอุจจาระปัสสาวะ ออกกำลัง  เศร้าโศก โทสะ

 รู้จักยารักษาโรค (ดูในหลักเภสัช ๔)
รู้จักว่ายาอย่างใดรักษาโรคใด
การซักประวัติและตรวจคนไข้ และ การวินิจฉัย
ประวัติบุคคล 
ประวัติโรค
การตรวจร่างกาย             
การตรวจอาการ
โรคหรือชื่ออะไร
ชื่ออะไร(เวชระเบียน)
ที่อยู่(ประเทศ)
ชนชาติอะไร
(พฤติกรรม)  
ที่เกิด (ประเทศ)
อายุ                                  
ทำมาหากิน(พฤติกรรม) 
ครอบครัว (พฤติกรรม)
ความประพฤติ(พฤติกรรม)
ล้มเจ็บเมื่อไร  
มีเหตุอย่างไร
แรกเจ็บอาการอย่างไร อาการลำดับมาอย่างไรลำดับการรักษามาอย่างไรอาการผันแปรอย่างไร
วันหนึ่งๆอาการอย่างไรอาการปัจจุบันอย่างไร  
โรคที่เคยเป็นมาก่อน        
๑รูปร่าง  
.กำลัง
.สติอารมณ์
.ทุกขเวทนา
.ชีพจร        
.การหายใจ     
.หัวใจ,ปอด,ลิ้น
,ตา,ผิวพรรณ
วัดปรอท, เหงื่อ
อุจจาระ, ปัสสาวะ  
 อาหาร, เสียง 
การหลับนอน

อะไรเป็นเหตุ
แก้ไขอย่างไร
ใช้ยารสอะไร
พิเคราะห์เพิ่มเติม
ตรวจผล  สมุฏฐาน,พิกัดอะไร,ประเทศอะไร,
อายุอะไร  กาลอะไร  เจ็บมานานเท่าใด
ค้นต้นเหตุ สมุฏฐาน หรือพฤติกรรม
หาทางแก้ไข ใช้ยารสอะไร,จะอบหรือประคบ
แนะนำการปฏิบัติตัวอย่างไร
**โบราณว่า ระยะเวลากระทำโทษของธาตุทั้ง 4 ตายตัว เช่น ธาตุไฟกระทำโทษใช้เวลา 7 วันต่อเนื่อง หากไม่รักษาธาตุที่จะผิดปกติ
ตามมาคือ ธาตุน้ำ กระทำ 12 วันแล้วต่อด้วยธาตุลม 10 วัน รวม 29 วัน พอย่างเข้าวันที่ 30 ครบสามธาตุกระทำโทษพร้อมกันเรียก สันนิบาต และหากกระทบหรือตกถึงธาตุดิน คือ โครงสร้างสำคัญถูกทำลาย ครบ 4 ธาตุเรียก มหาสันนิบาต(สันนิบาตกองใหญ่)

กำลังไข้ ปฐมวัย      เอกโทษ ทุวันโทษ ตรีโทษตามกำลังวัน                     
ปิตตะ 3
เสมหะ 3
วาตะ 3
สันนิบาต
30 วัน
3สมุฏฐานประชุมพร้อมกัน
มหาสันนิบาต
ตกถึงธาตุดิน
เสมหะ 2

ปิตตะ 2
ปิตตะ 1
1   2   3   4   5    6   7   8   9  10  11  12  13   14   15   16   17   18    19    20  21  22   23   24  25   26  27  28  29
(จำนวนวันที่เจ็บป่วยในรอบ 1 เดือน ตามกำลังวันของแต่ละสมุฏฐาน)
เสมหะ 3
ปิตตะ 3
วาตะ 3
ปิตตะ 2

เสมหะ 2
เสมหะะ 1
ปิตตะ 3
เสมหะ 3
ร้อนมีเสลด
เสมหะ6
ปิตตะ2
ปิตตะ 5  ร้อนเพิ่มขึ้น
เสมหะ 5   เสลดเพิ่ม

วาตะ 6 ไอ หอบหายใจขัด
เสมหะ 3 มีเสลดอยู่
ปิตตะ3    ตัวร้อนอยู่



ลำดับความเป็นไปของโรคมีระยะเวลากำหนดอย่างชัดเจน ตามแต่ละช่วงอายุและได้มีการกล่าวถึงลำดับความเป็นไปของสมุฏฐานด้วยว่าสมุฏฐานใดเกิดก่อนและเกิดตามมาทีหลัง ดังนี้
            อายุสมุฏฐานของการเกิดโรคในปฐมวัย   เริ่มต้นด้วยเสมหะสมุฏฐาน ๑๒ วันเป็นเอกโทษ ตามด้วยปิตตะสมุฏฐาน ๗ วันเป็นทุวันโทษแล้วเข้าสู่วาตะสมุฏฐาน ๑๐ วันเป็นตรีโทษ มีโรคแทรกและโรคตาม(วิเศษสมุฏฐาน)*
--------------------------------------------------------------
อ่านเพิ่มเติมที่ (เรื่อง กิจ ๔ ของหมอ)   http://www.samunpri.com/modules.php?name=Wej&file=panbora

หมายเหตุ ในการอ่านสรุป ควรอ่านเนื้อหาในหนังสือทั้งหมดก่อนอย่างน้อย ๑ รอบ แล้วมาอ่านสรุปจะทำให้เข้าใจ ภาพรวมทั้งหมดยิ่งขึ้น
ตัวอย่างข้อสอบคัมภีร์เวชศึกษา

1.น้ำหนึ่งอายุ 25 ปี มีอาการเป็นไข้ ตัวร้อน กระสับกระส่าย จัดเป็นอายุสมุฏฐานช่วงใด

ก. มัชฉิมวัย ป่วยด้วยเสมหะเป็นต้นวาตะเป็นที่สุด               ข.  มัชฉิมวัย ปิตตะเป็นเจ้าเรือน มีกำลัง 12

ค.  มัชฉิมวัย ป่วยด้วยปิตตะเป็นต้น เสมหะเป็นที่สุด            ง.  มัชฉิมวัย ปิตตะเป็นต้น วาตะะเป็นที่สุดกำลัง12

2. กาลสมุฏฐานวาโยพิกัดพิกัดวาตะกระทำอยู่ในช่วงเวลาใด

ก.   06.00-10.00 น.  18.00-22.00 น.                       ข.   10.00-14.00 น.  22.00-02.00 น.

ค.   11.00-14.00 น . 23.00-02.00 น.                       ง.  14.00-18.00 น.  02.00-06.00 น.

3.สมุฏฐานอาโปธาตุพิกัด เป็นที่ตั้งแห่งทวาทศอาโป ประกอบด้วย

ก.  โลหิตตัง-เขโฬ-ศอเสมหะ                                ข. ศอเสมหะ-อุระเสมหะ-เขโฬ

ค.  ศอเสมหะ-อุระเสมหะ-คูถเสมหะ                    ง. อุระเสมหะ-คูถเสมหะ-โลหิตตัง

4.กำลังไข้หรือองศาไข้ประกอบด้วยอะไรบ้าง

ก.  ปิตตะ 7-เสมหะ-10-วาตะ 12                                             ข. ปิตตะ 12-เสมหะ 10-วาตะ 7
ค.  ปิตตะ 10-เสมหะ 12-วาตะ 7                                             ง. ปิตตะ 7-เสมหะ 12-วาตะ 10
5.มิจฉาญาณแพทย์หมายถึงอะไร
ก. แพทย์แผนไทย                                                                 ข. แพทย์ชนบท
ค. แพทย์ที่รู้แจ้ง                                                                      ง. แพทย์ที่มิรู้แจ้ง
6. ข้อใดกล่าวถูก ในฤดู ๓ เหมันตฤดูมีสมุฏฐานใดเป็นเหตุ
ก. ปิตตะสมุฏฐาน                                                                  ข.  วาตะสมุฏฐาน
ค. เสมหะสมุฏฐาน                                                                ง. เสมหะเจือปิตตะสมุฏฐาน
7. ธาตุ 42 อย่าง  หัวหน้าจะพิการบ่อย ย่อธาตุ 42 อย่าง เป็นสมุฎฐานธาตุ 3 กองกองไหนผิด
 ก. วาตะสมุฎฐานอาพาธา   อาพาธด้วยลม                     ข. ปิตตะสมุฎฐานอาพาธา   อาพาธด้วยดี
ค. โลหิตังสมุฎฐานอาพาธา อาพาธด้วยโลหิต               ง. เสมหะสมุฎฐานอาพาธ  อาพาธด้วยเสลด
8. ในช่วงแรม 1 ค่ำเดือน 12 ถึงขึ้น 5 ค่ำเดือน 1 จัดอยู่ในฤดูสมุฏฐานใด ในฤดู 6 และมีพิกัดธาตุสมุฏฐานใดเป็นเจ้าเรือน
ก.   สะระทะสมุฏฐาน  หทัยวาตะเป็นเจ้าเรือน                     ข.   สะระทะสมุฏฐาน  สัตถวาตะเป็นเจ้าเรือน
ค.   เหมันตะสมุฏฐาน  ศอเสมหะเป็นเจ้าเรือน                    ง.   เหมันตะสมุฏฐาน  คูถเสมหะเป็นเจ้าเรือน
9. สะระทะฤดู  เป็นพิกัดวาตะสมุฎฐาน  มีอะไรระคนให้เป็นเหตุ
ก.ปิตตะสมุฎฐาน                                    ข.ธาตุทั้ง 4 ขาดไป
ค.เสมหะสมุฎฐาน                                 ง.ถูกราชอาญาให้ประหารชีวิต
10.  ในฤดู 6 คิมหันตฤดู แบ่งออกดังนี้ ข้อใดที่ไม่ใช่
                  .   พัทธปิตตะ                          .   อพัทธปิตตะ
                  .   กำเดา                                   .   หทัยวาตะ
11. พัทธะปิตตะ หมายถึงข้อไหน
                   .   ดีนอกฝัก                             .   กำเดา
                   .   ดีในฝัก                                .   ถุงน้ำดี
12.     วาโยธาตุสมุฎฐานพิการ พระอาทิตย์สถิตในราศรีใด
                   .   มังกร                                   .   กุมภ์
                   .   มีน                                       .   กรกฎ
13. จากกองพิกัดสมุฏฐานมหาภูตรูป 4 สมุฏฐานกองใดได้นามว่า มหาสันนิบาต หรือ สันนิบาตกองใหญ่
ก. กองสมุฏฐานเตโช                                                กองสมุฏฐานวาโย
.กองสมุฏฐานปถวี                                                ง.กองสมุฏฐานอากาศ
14.  พระคัมภีร์เวชศึกษากล่าวถึงการรู้จักที่ตั้งแรกเกิดของโรค  ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1.  เสมหะมีกำลัง  12 วัน                        2.  ศอเสมหะ  อุระเสมหะ   คูถเสมหะ คือพิกัดในกองอาโปธาตุ
3.  เวลา 11.00 . อาการกำเริบเพราะโลหิตพิการ   4.  ถูกทุกข้อ
15.  ระยะเวลาตั้งแต่ แรม ค่ำ เดือน 8  ถึงขึ้น  15 ค่ำ  เดือน 12  ในพระคัมภีร์เวชศึกษากล่าวไว้อย่างไร
                1.  สมุฏฐาน  ฤดู  3                                 2.  ฤดูแห่งสุมนาวาตะ  ระคนไปในสมุฏฐาน ทั้งปวง
3.  หทัยวาตะ  กำหนด   40 วัน   สัตถกวาตะ  กำหนด   40 วัน     สุมนาวาตะกำหนด   40 วัน      4. ถูกทุกข้อ
16.  คนไข้อายุ  30 ปี  มาพบแพทย์ด้วยอาการ  มีไข้  ตัวร้อนจัด  หนาวสั่นสะท้าน ปวดศีรษะ   บางครั้งเพ้อ
     บ่น  ว่าโน่น  ว่านี่  ไม่รู้สึกตัว  แพทย์วินิจฉัยว่า อาโปธาตุพิการ  ข้อใดถูกต้อง

1.  เสมหัง                                2.  อัสสุ                       3.  ปิตตัง                              4.  โลหิตตัง