- 1. คัมภีร์ปฐมจินดา 2. คัมภีร์มหาโชตรัต
สัตว์ที่ปฏิสนธิ
ในชมพูทวีป
|
๑.ชลามพุชะ
ปฏิสนธิในครรภ์ เป็นตัว
|
๒.อัณฑะชะ ปฏิสนธิ
เป็นฟองไข่
|
๓.สังเสทชะ
ปฏิสนธิด้วยเปือกตม
(หนอน)
|
๔.อุปปาติกะ ปฏิสนธิโดย
เกิดขึ้นมาเอง
|
|||||||||||
สตรีผิดจากบุรุษ ๒ ประการ
|
๒.น้ำนมสำหรับเลี้ยงบุตร
|
๑.ต่อมเลือด(มดลูก)
|
|||||||||||||
กล่าวถึง
น้ำนม
|
ลักษณะแห่งแม่นมที่(เบญจกัลยาณี)
|
๑.กลิ่นตัวเหมือนดอกกล้วยไม้ เสียงสังข์ไหล่ผายสะเอวรัด
|
๒. กลิ่นตัวดังดอกอุบล เสียงดังแตร
|
๓.กลิ่นตัวไม่หอมหรือเหม็น เอวกลม ขนตางอน
|
๔.กลิ่นตัวหอมเผ็ด
เสียงดังจั๊กจั่น
|
||||||||||
รสน้ำนมนั้นหวาน มันเจือกัน เรียกทิพโอสถประโยธร ดุจน้ำสุรามฤต
ดุจดื่มกินโอสถอันเป็นทิพย์
|
|||||||||||||||
การทดสอบน้ำนม
|
เอาน้ำนมใส่ขันสังเกตดู
|
สีขาวดังสังข์ จมลงในขัน กลมเหมือนลูกบัวเกาะ เป็นนมอย่างเอก
|
น้ำนมกระจาย แต่จมลงในขัน ไม่กลมเหมือนลูกบัวเกาะ เป็นนมอย่างโท
|
น้ำนมเป็นโทษ นั้น รสเปรี้ยวขม ฝาด จืดจาง กลิ่น คาว เป็นฟอง
|
|||||||||||
ลักษณะน้ำนมให้โทษ
|
๑.หญิงยักขินี กลิ่นน้ำล้างเนื้อ ลูกตาแดง
เสียงแหบเหมือนกา |
๒.หญิงหัศดี กลิ่นบุรุษ ตาแดง เสียงแข็งเหมือนแพะ
|
|||||||||||||
ลักษณะน้ำนมพิการ
|
๑.สตรีระดูขัด
|
๒.สตรีอยู่ไฟไม่ได้(น้ำนมดิบ)
|
๓.สตรีมีครรภ์น้ำนมเป็นน้ำเหลือง
|
||||||||||||
ลักษณะน้ำนมเป็นโทษ
|
๑.น้ำนมจางสีเขียว ๒.น้ำนมจาง รสเปรี้ยว ๓.น้ำนมเป็นฟอง
|
||||||||||||||
การรักษาน้ำนมพิการ ให้ยาประจุโลหิตและรุน้ำนม บำรุงธาตุ ให้โลหิตและน้ำนมนั้นบริบูรณ์ก่อน
เป็นเพราะโลหิตกำเริบให้แต่ง ยาประจุโลหิตร้ายเสียก่อน โลหิตจึงจะงาม น้ำนมจึงจะบริบูรณ์
|
คัมภีร์ปฐมจินดา
ว่าด้วยเรื่องครรภ์ต่างๆ
ครรภ์วาระกำเนิด
(ครรภ์ปฏิสนธิ) |
มารดาจะปฏิสนธินั้น ต้องถึงพร้อมด้วยธาตุทั้ง ๔ และโลหิตบิดามารดาระคนกัน มิได้วิปริต บังเกิดขึ้นด้วยธาตุน้ำ คือต่อมโลหิตแห่งมารดา ให้แพทย์พิจารณาดูว่าโลหิตเกิดจากที่ใด
แล้วให้ปรุงยาชื่อ พรหมภักดิ์ เป็นยาประจุโลหิตร้ายเสียให้สิ้น แล้วจึงแต่งยาบำรุงไฟธาตุให้กิน
เพื่อปรับธาตุทั้ง ๔ ให้เสมอกัน
แล้วจึงแต่งยาชื่อ กำลังราชสีห์ กำลังแสงพระอาทิตย์ บำรุงโลหิตให้บริบูรณ์
แล้ว เมื่อใด
แล้วสัตว์ที่จะมาปฏิสนธิก็เกิดขึ้นได้เมื่อนั้น
|
||||||||||||||||||||||
เมื่อสัตว์จะปฏิสนธิท่านกล่าวไว้ว่า สุขุมังปรมาณูละเอียดนัก เปรียบด้วยขนทรายจามรี
หนึ่งเส้น ชุบน้ำมันงา ที่ใส แล้วเอาสลัดเสียให้ได้ ๗ ครั้ง ยังติดอยู่ปลายขน มากน้อยเท่าใด อันมูลปฏิสนธิ แห่งสัตว์ทั้งหลายสุขุมละเอียดดุจนั้นตั้งขึ้นในครรภ์มารดา ถ้าละลายไปได้ วันละ ๗ ครั้ง กว่าจะตั้งขึ้นได้ เป็นอันยากนัก
|
|||||||||||||||||||||||
การเจริญเติบโต ของการตั้งครรภ์
ครรภ์กำเนิด" |
๗ วัน เป็นปฐมกะละละเรียก
ชัยเภท มีระดูล้างหน้า ๑ ครั้ง |
๑๔ วัน
|
๒๑ วัน
สันฐานดังไข่งู
|
๒๘ วัน แตกออกเป็นปัญจสาขา(หัว๑ มือ ๒ ขา ๒)
|
|||||||||||||||||||
๓๕ วัน เกิด เกศา โลมา นขา ตามลำดับ
|
๔๒ วัน โลหิตเวียนเข้าเป็นตานกยูง หญิงเวียนซ้ายชายเวียนขวา
|
๓ เดือน โลหิตแตกออกตามปัญจ สาขา
|
๔ เดือน อาการครบ ๓๒ บังเกิด ตาและหน้าผากก่อน
|
||||||||||||||||||||
๕ เดือน มีจิตและเบญจขันธ์ รู้จักร้อนเย็น
|
|||||||||||||||||||||||
นิมิตของมารดา
|
อยากเนื้อ
สัตว์นรก
|
ของเปรี้ยว,ขม
ป่าหิมพานต์
|
น้ำผึ้ง,อ้อย,ตาล
สวรรค์
|
ผลไม้
สัตว์ดิรัจฉาน
|
ดิน
พรหม
|
เผ็ดร้อน
มนุษย์
|
|||||||||||||||||
ครรภ์รักษา
|
ลักษณะหญิงมีครรภ์
|
๑.เส้นเอ็นเขียว ผ่านหน้าอก ๒.หัวนมดำ,ตั้งขึ้น ๓.มีเม็ดรอบหัวนม
|
|||||||||||||||||||||
ระหว่างตั้งครรภ์มักมีอาการต่างๆ
|
๑ เดือน เป็น
โรคโดยไม่รู้สาเหตุ
|
๒ เดือน
ไข้จับเป็นเวลา
|
๓ เดือน
ไข้ ลง ราก
|
๔ เดือน
ไข้เพื่อเสมหะ
|
๕เดือน
ไข้ ลง ราก
|
||||||||||||||||||
๖ เดือน
เจ็บแข้ง เจ็บขา
|
๗ เดือน
ไข้ ลง ราก
|
๘ เดือน
ไข้
|
๙ เดือน
กุมารแข็งแรงดี
|
๑๐ เดือน
เทวดามาจุติ
|
|||||||||||||||||||
ครรภ์ปริมณฑล
คือการรักษาครรภ์ให้ปกติ |
การเตรียมยาไว้รักษาโรคขณะตั้งครรภ์
เช่น แก้ไข้ บิดมูกเลือด
วิงเวียน แก้กุมารไม่ดิ้น
ยาชักมดลูก
ถ้าเป็นไข้ให้ทำยา ดังนี้
จันทน์ทั้งสอง เชือกเขาหมวกแดง เชือกเขาหมวกขาว
ชะลูด อบเชย ขอนดอก สน สัก
กรักขี แก่นประดู่ (เปลือกไข่เน่า ,มะซาง ,สันพร้านางแอ) (ดอกสัตตบุษย์ ,บัวเผื่อน ,บัวขม ,ลินจง ,พิกุล ,บุนนาค ,สารภี ,มะลิซ้อน ,มะลิลา) รวมยา
23 สิ่ง เสมอภาค
มีครรภ์ให้เป็นบิด แก้ด้วยยา เกสรบัวหลวง ผลทับทิมอ่อน เปลือกมะขาม ครั่ง เสมอภาค บดละลายน้ำร้อนกินวิธีทำ ทำเป็นจุลทำแท่งไว้ ละลายน้ำดอกมะลิ วิธีใช้ ทั้งกินและชโลมแก้สารพัดโรคในครรภ์รักษาทั้งปวง ตั้งแต่สตรีตั้งครรภ์ได้ 1 เดือนถึง 10 เดือน
หญิงคลอดบุตรมดลูกไม่เข้าอู่ ใช้ยานี้ รากมะยมตัวผู้ รากส้มป่อย รากมะขามขี้แมว
ใบขนุน ยางแสมทะเล เสมอภาค ต้ม 3 เอา 1 กินเป็นยาชักมดลูก
หญิงคลอดบุตรรกขาดในครรภ์ ใช้ยาดังนี้ ยอดฝ้ายแดง
7 ยอด พริกไทย
7 เม็ด ขิง
7 ชิ้น กระเทียม
7 กลีบ บดด้วยน้ำสุรากินสะเดาะรกดีนัก
มีครรภ์ให้เป็นบิด แก้ด้วยยา
เกสรบัวหลวง ผลทับทิมอ่อน เปลือกมะขาม ครั่ง เสมอภาค บดละลายน้ำร้อนกิน
|
||||||||||||||||||||||
ครรภ์วิปลาส
|
เหตุที่ทำให้ครรภ์ตก
|
๑.กามวิตก
(ไฟกำเริบ)
|
๒.กินของเผ็ดร้อนหรือของ
แสลงให้ลง (น้ำกำเริบ)
|
๓.มากด้วยความโกรธ
ถูกทำร้ายร่างกาย
|
๔.ถูกปีศาจกระทำ
คุณไสยกระทำ
|
||||||||||||||||||
ครรภ์ประสูตร
|
ลมกัมมัชชวาต พัดให้ศีรษะกลับลงเบื้องต่ำ
|
คว่ำออก
เลี้ยงง่าย
|
หงายออก เลี้ยงยาก
เกิดเขม่า ตานซาง
|
ตะแคงซ้าย,ขวา
เลี้ยงไม่ยากไม่ง่าย
|
คลอดยาก ถูกบีบด้วยกำลัง โตขึ้น เป็นฝี
ที่คาง คอ ฟองดัน ฝีประคำร้อย
|
||||||||||||||||||
ครรภ์ปรามาศ คือ
การเอามือลูบนาภีแล้วเกิดการตั้งครรภ์
|
|||||||||||||||||||||||
หลังคลอด
|
๓ วัน ถ้าเป็นแผ่น
แต่สะดือ ถึงยอดอก
ระวัง ลมสุนทรวาต
|
๗ วันสังเกต
สีที่ยอดอก
|
แดงดังดอกสัตตบุษย์,ดอกตะแบกช้ำ ,ควันเทียน เลี้ยงยาก
|
สีหม้อใหม่(หม้อดิน) เลี้ยงยากปานปลาง
|
สีหม้อใหม่อ่อนๆ
เลี้ยงง่าย
|
||||||||||||||||||
ลักษณะน้ำนมพิการ ๓ จำพวก
|
๑. สตรีระดูขัด โลหิตแห้งจางระคนมากับน้ำนม
๒. สตรีอยู่ไฟมิได้ ท้องเขียวดังท้องค่าง โลหิตตกคั่งค้างอยู่ภายใน พิษจึงซ่านเข้าน้ำนมให้ทารกเกิดลงท้อง ท้องขึ้น ตัวร้อน บางทีปวดมวนท้อง ๓. สตรีมีครรภ์อ่อน น้ำเหลืองระคนกับสายโลหิตปนไปในน้ำนม |
ลักษณะน้ำนมเป็นโทษ ๓ ประการ
|
๑. น้ำนมจาง สีเขียวดังน้ำต้มหอยแมลงภู่
๒. น้ำนมจางมีรสเปรี้ยว ๓. น้ำนมเป็นฟองลอย |
ทารกเกิดในวัน ๒,๕,๖, คือวันจันทร์,พฤหัสบบดี,วันศุกร์ มักจะเลี้ยงง่ายแข็งแรง
ทารกเกิดวัน ๑,๓,๔,๗ คือวันอาทิตย์,วันอังคาร,วันพุธ,วันเสาร์ มักจะโรคมากเลี้ยงยากนัก |
การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์มารดามีขั้นตอนที่เรียกว่า
"ครรภ์กำเนิด"
การรักษาตัวของมารดาขณะมีครรภ์ลักษณะการตั้งครรภ์เรียกว่า "ครรภ์รักษา"
ลักษณะที่ไม่ตั้งครรภ์ การแท้งและการผิดปรกติขณะตั้งครรภ์เรียกว่า "ครรภ์วิปลาส"
การดูแลรักษาทารกในครรภ์เรียกว่า "ครรภ์ปริมณฑล"
การทำคลอด การแก้ไขปัญหาในเวลาคลอดของทารกและมารดาในระยะ ๗ วันแรกเรียกว่า "ครรภ์ประสูติ"
การรักษาตัวของมารดาขณะมีครรภ์ลักษณะการตั้งครรภ์เรียกว่า "ครรภ์รักษา"
ลักษณะที่ไม่ตั้งครรภ์ การแท้งและการผิดปรกติขณะตั้งครรภ์เรียกว่า "ครรภ์วิปลาส"
การดูแลรักษาทารกในครรภ์เรียกว่า "ครรภ์ปริมณฑล"
การทำคลอด การแก้ไขปัญหาในเวลาคลอดของทารกและมารดาในระยะ ๗ วันแรกเรียกว่า "ครรภ์ประสูติ"
โรคที่มักเกิดกับเด็ก
ซางเจ้าเรือน/ซางกำเนิด
|
โรคของเด็กเล็ก อายุตั้งแต่อยู่ในครรภ์ - ๕
ขวบ มีอาการหลายอย่าง เช่น ไม่กินนม
ไอ อาเจียน ปวดหัว
ตัวร้อน ท้องเดิน ท้องขึ้น
|
|||||||||||||||||||||||
ซางประจำวัน
|
อาทิตย์
ซางไฟ
|
จันทร์
ซางน้ำ
|
อังคาร
ซางแดง
|
พุธ
ซางสะกอ
|
พฤหัส
ซางโค
|
ศุกร์
ซางช้าง
|
เสาร์
ซางโจร
|
|||||||||||||||||
ละออง เด็กแรกเกิด
เพราะไอร้อนในช่องท้อง ทำให้เกิดฝ้าเป็นปุยสีขาวในช่องปาก ลำคอ
กระพุ้งแก้มหรือบนลิ้น
ไม่มีเม็ดยอด
มีสีต่างกัน
หละ เป็นต่อจากละออง
เป็นโรคติดเชื้อ,เชื้อราในช่องปากของเด็กในเรือนไฟ(ระหว่างมารดาอยู่ไฟ)แรกเกิดถึง
๓ เดือน ฝ้าขาวจะมีลักษณะเป็นแผ่นหนา
มีเม็ดเรียบหรือยอดแหลมผุดขึ้นที่เหงือกและเพดานปากของเด็ก มีสีต่างๆกัน
|
||||||||||||||||||||||||
ซางจร/หละ
|
กราย/อุทัยกาฬ
|
ฝ้าย/แสงจันทร์
|
กระแหนะ/
อุทัยกาฬ
|
กระตัง/
นิลเพลิง
|
ข้าวเปลือก/
นิลกาฬ
|
กระดูก/แสงจันทร์
|
นางริ้น/
มหานิลกาฬ
|
|||||||||||||||||
ลักษณะ
ดวงซาง
|
๑.ซางฝ้าเกิดในลิ้น ในปาก ดวงเป็นกลุ่ม หลายดวง
|
๒.ซางขุม กลางลิ้นซีดขาว
ดวงเป็นกลุ่ม ๔ ดวง
|
๓.ซางข้าวเปลือก
ในลิ้นดังลิ้นวัว
|
|||||||||||||||||||||
๔.ซางข้าว ดวงเป็นแถว ๘
ดวง
|
๕.ซางควาย คล้ายอุนาโลมตะแคง
|
๖.ซางม้า คล้ายอุนาโลมตั้ง
มีสีดำ,เขียวร้ายนัก
|
||||||||||||||||||||||
๗.ซางช้าง หวำและกลางแดง
|
๘.ซางโจร ขึ้นในไส้ พุง และหัวตับ
|
๙.ซางไฟ ลิ้นดำริมแดง
|
||||||||||||||||||||||
ซางโจร ยอดดำ เชิงแดง ขึ้นต้นกราม
ให้ลงท้อง ดังส่าเหล้า ขึ้นตับลงดำ ขึ้นไส้ ลงเขียว เป็นนิ่วซาง
ปัสสาวะขาว ดุจน้ำปูน
|
ซางนิล เกิดในกระหม่อมและเพดาน
๑ -๔ ยอด แก่เข้า
กระจายขึ้นเหงือกและกราม เจ็บปวด มีพิษ
|
|||||||||||||||||||||||
ตานซาง เด็กอายุ ๖ ขวบถึง ๑๒-๑๓
ขวบ(ซึ่งยังมีซางจรแทรกอยู่) มีชื่อเรียก ๒ ชนิดคือ
ตานโจร(ตานขโมย) กับตานจร
ตานขโมย เกิดจากกินของที่ไม่ควรกิน หรือเกิดจากตัวกิมิชาต ๘๐ ชนิด หรือพยาธิ ๑๑ จำพวก มีอาการให้ท้องเดินอุจจาระเหม็นคาวจัด ชอบของแสลงสดคาว กินปลามากกว่าข้าว ต่อไปถ่ายเป็นมูกเลือดสดๆ ให้เด็กซูบซีด ผอมแห้งอ่อนเพลีย จนพุงโรก้นปอด ศีรษะโต หนังหุ้มกระดูก ขี้อ้อน นอนสะดุ้งตกใจง่าย
* กิมิชาติ ปากดำแหลมตัวขาวเรียกว่า งานม
พยาธิไส้เดือน(สุจิมุขะกาละหิระ)
|
||||||||||||||||||||||||
สำรอก อาการอย่างเดียวกับอาเจียน เหลือง,เขียว,เสมหะ,เม็ดมะเขือ เมื่อเกิดแล้วทำให้ซางทำโทษ
|
||||||||||||||||||||||||
สำรอก ๗
ประการ |
๑.เมื่อชันคอ=เพราะเส้นเอ็นไหว(เคลื่อน) ซางจึงพลอยทำโทษ
|
๒.เมื่อรู้คว่ำ =กระดูกสันหลังคลอน (กล้ามเนื้อขยายตัว)
|
๓.เมื่อรู้นั่ง =กระดูกก้นกบขยายตัว (กระดูกสันหลังเคลื่อน)
|
๔.เมื่อรู้คลาน=ตะโพกและเข่าเคลื่อน
|
||||||||||||||||||||
๕.เมื่อดอกไม้ขึ้น=เพราะอักเสบ ฟันน้ำนมขึ้น
|
๖.เมื่อตั้งไข่=กระดูก300ท่อนสะเทือน
(สำรอกกลาง) |
๗.เมื่อรู้ย่าง=ไส้ พุง ตับ ปอด คลอน ช้ำใน (สำรอกใหญ่)
|
||||||||||||||||||||||
ทับ ๘
|
๑.ทับสองโทษ
สำรอกทับซาง
|
๒.ทับสำรอก
ซางทับสำรอก
|
๓.ทับละออง
กำเดาทับละออง
|
๔.ทับกำเดา
ซางทับกำเดา
|
||||||||||||||||||||
๕.ทับกุมโทษ
กำเดาทับมูกเลือด
|
๖.ทับเชื่อมมัว
มูกเลือดทับกำเดา
|
๗.ทับลง
ตับทรุดทับลง(ท้องเดิน)
|
๘.ทับช้ำใน
ไข้ทับช้ำใน
|
|||||||||||||||||||||
ลมที่เกิดกับเด็ก
|
๑.ลมอุทรวาต
ให้ร้อง ๓ เดือน
|
๒.ลมตะบองราหู
ให้ชักมือกำเท้างอ ท้องขึ้น ตัวร้อน เรียก (สะพั้นไฟ)
|
๓.ลมวาตะภักษ์
ให้ชักเพราะเลือดเป็นพิษ
|
๔.ลมบาทะยักษ์
ชักเกิดจากบาดแผล
|
||||||||||||||||||||
๕.ลมจำปราบ ชักให้แอ่นไปข้างหลัง
|
๖.ลมป่วงงูเห่า ชักให้แอ่นไปข้างหลัง
|
๗.ลมหัสดี ชักให้หลังแข็ง
|
หมายเหตุ ในการอ่านสรุปคัมภีร์ ควรอ่านเนื้อหาในหนังสือทั้งหมดก่อนอย่างน้อย ๑ รอบ แล้วมาอ่านสรุปจะทำให้เข้าใจ ภาพรวมทั้งหมดยิ่งขึ้น
ข้อสอบในคัมภีร์ปฐมจินดา
ข้อ 1. ข้อใดเป็นชื่อของหญิงที่มีน้ำนมเป็นโทษแก่ทารก โดยหญิงนั้นมีกลิ่นตัวคาวดังน้ำล้างเนื้อ
1. กาลกิณี 2. ยักขินี
3. หัสดี 4. หรดี
ข้อ 2. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะน้ำนมพิการในหญิง 3 จำพวก
1. สตรีแท้งบุตร 2. สตรีระดูขัด
3. สตรีอยู่ไฟไม่ได้ 4. สตรีมีครรภ์อ่อน
ข้อ 3. ครรภ์วิปลาศ สาเหตุที่ทำให้สตรีทั้งครรภ์ตกไป (แท้งบุตร) เกิดจากสาเหตุใด
1. ทำงานหนักเกินกำลัง
2. พักผ่อนไม่เพียงพอ
3. กินของทีไม่ควรกินหรือกินยาขับโดยตั้งใจ
4. ไม่ออกกำลังกาย น้ำหนักตัวเพิ่ม
ข้อ 4. สตรีตั้งครรภ์ขึ้นได้ 2 สัปดาห์ หรือ 1 เดือนก็ดี จะแสดงอะไรให้ปรากฎแก่คนทั้งหลาย
1. มีเส้นผ่านหน้าอกเขียว 2. เม็ดรอบหัวนมโตขึ้น
3. หัวนมดำคล้ำขึ้น 4. ถูกทุกข้อ
1. กาลกิณี 2. ยักขินี
3. หัสดี 4. หรดี
ข้อ 2. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะน้ำนมพิการในหญิง 3 จำพวก
1. สตรีแท้งบุตร 2. สตรีระดูขัด
3. สตรีอยู่ไฟไม่ได้ 4. สตรีมีครรภ์อ่อน
ข้อ 3. ครรภ์วิปลาศ สาเหตุที่ทำให้สตรีทั้งครรภ์ตกไป (แท้งบุตร) เกิดจากสาเหตุใด
1. ทำงานหนักเกินกำลัง
2. พักผ่อนไม่เพียงพอ
3. กินของทีไม่ควรกินหรือกินยาขับโดยตั้งใจ
4. ไม่ออกกำลังกาย น้ำหนักตัวเพิ่ม
ข้อ 4. สตรีตั้งครรภ์ขึ้นได้ 2 สัปดาห์ หรือ 1 เดือนก็ดี จะแสดงอะไรให้ปรากฎแก่คนทั้งหลาย
1. มีเส้นผ่านหน้าอกเขียว 2. เม็ดรอบหัวนมโตขึ้น
3. หัวนมดำคล้ำขึ้น 4. ถูกทุกข้อ
ข้อ 5. ในคัมภีร์ปฐมจินดากล่าวไว้ว่า สัตว์ที่ปฎิสนธิในชมพูทวีปมีหลายสถาน อยากทราบว่า " สัตว์ที่เกิดเป็นฟองฟักไข่ " นั้นมีชื่อเรียกว่า อะไร ?
1. ชลามพุชะ 2. สังเสทชะ
3. อุปปาติกะ 4. อัณฑะชะ
ข้อ 6. เมื่อสัตว์ในครรภ์ปฎิสนธิครบ 1 สัปดาห์ จะพัฒนาเป็น
1. ดังไข่งู 2. น้ำล้างเนื้อ 3. ชิ้นเนื้อ 4. ปัญจสาขา
ข้อ 7. ลักษณะซาง ซางนิลเกิดในกระหม่อม แล้วลงมาเกิดขึ้นในเพดาน มีจำนวนยอดตามข้อใด ?
1. 1 ยอด 2. 3 ยอด
3. 4 ยอด 4. ถูกทุกข้อ
ข้อ 8. ลักษณะแห่งน้ำนมแม่ที่ดี สมควรเลี้ยงกุมาร กุมารี คือข้อใด ?
1. หญิงที่มีกลิ่นตัวคาวดังน้ำล้างมือ 2. หญิงที่มีกลิ่นตัวดังดอกอุบล
3. หญิงที่มีกลิ่นตัวดังบุรุษ 4. หญิงที่มีกลิ่นตัวเปรี้ยว
ข้อ 9. .ผู้แต่งคัมภีร์ปฐมจินดาคือ
1. ชลามพุชะ 2. สังเสทชะ
3. อุปปาติกะ 4. อัณฑะชะ
ข้อ 6. เมื่อสัตว์ในครรภ์ปฎิสนธิครบ 1 สัปดาห์ จะพัฒนาเป็น
1. ดังไข่งู 2. น้ำล้างเนื้อ 3. ชิ้นเนื้อ 4. ปัญจสาขา
ข้อ 7. ลักษณะซาง ซางนิลเกิดในกระหม่อม แล้วลงมาเกิดขึ้นในเพดาน มีจำนวนยอดตามข้อใด ?
1. 1 ยอด 2. 3 ยอด
3. 4 ยอด 4. ถูกทุกข้อ
ข้อ 8. ลักษณะแห่งน้ำนมแม่ที่ดี สมควรเลี้ยงกุมาร กุมารี คือข้อใด ?
1. หญิงที่มีกลิ่นตัวคาวดังน้ำล้างมือ 2. หญิงที่มีกลิ่นตัวดังดอกอุบล
3. หญิงที่มีกลิ่นตัวดังบุรุษ 4. หญิงที่มีกลิ่นตัวเปรี้ยว
ข้อ 9. .ผู้แต่งคัมภีร์ปฐมจินดาคือ
ก. พระปชาบดี ข.พระเจ้าพิมพิสาร
ค. ปู่ชีวกโกมารภัจจ์ ง.พรมปุโรหิต
10.สัตว์ที่มาปฏิสนธิในครรภ์เป็นตัวเรียกว่า
ก.อัณฑะชะ ข. ชลามพุชะ
ค. สังเสทชะ ง. อุปปาติกะ
11.มีระดูล้างหน้า 1 ครั้ง หรือถ้าไม่เป็นดังนั้นก็ให้มารดาฝันเห็นวิปริต ก็รู้ว่าตั้งครรภ์ขึ้น เรียกว่า
ก.ไชยเชษฐ์ ข. ไชยโกฐ
ค.ไชยเทพ ง. ไชยเภท
12. การรักษาครรภ์ให้ปกติเรียกว่า
ก. ครรภ์ปริมลฑล ข. ครรภ์ปกติ
ค. ครรภ์โภทร ง. ครรภ์ปรามาศ
13.ตัวยา เกสรบัวหลวง ผลทับทิมอ่อน เปลือกมะขาม ครั่ง เสมอภาค บดละลายน้ำกิน เป็นตำรับยารักษา
ก.หญิงมีครรภ์เป็นไข้หวัด ข. หญิงมีครรภ์เป็นบิด
ค.หญิงมีครรภ์เป็นริดสีดวง ง.หญิงมีครรภ์แพ้ท้อง
14.เมื่อครบกำหนดคลอดทำให้เกิด
ก. ลมอโธคมาวาต ข. ลมสุนทรวาต
ค. ลมกัมมัชวาต ง. ลมมุรธาวาต
15.รู้ย่าง กระดูก 300 ท่อนสะเทือน เส้นเอ็นกระจาย
ก. สำรอกน้อย ข. สำรอกเล็ก
ค. สำรอกใหญ่ ง. สำรอกกลาง
16.กิมิชาติ มีตัวดังตัวด้วง ปากดำแหลม ตัวขาว เรียกว่า
ก. งานม ข.งางอก
ค.งากำจัด ง.งากำจาย
17.ตัวยา ลูกจันทน์ ฝางเสน หวายตะค้า ทั้ง 3 สิ่งฝนด้วยน้ำมันงูเหลือม ทาแก้สรรพตานทั้งปวง ทาส่วนใดของทารก
ก. ทากระหม่อม ข. ทากระดูกสันหลัง
ค. ทาหน้าผาก ง. ทาท้อง
18.ลักษณะสตรีน้ำนมให้โทษแก่กุมาร 2 จำพวกคือ
ก.หัสดี มโหธร ข. ทิพย์วดี ยักษ์ขินี
ค. ยักษ์ขินี หัสดี ง. เบญจสตรี กิริณี
19.น้ำนมสีขาวดังสีสังข์ จมลงในขัน สัณฐานดังลูกบัวเกราะ จัดเป็นน้ำนมอย่างใด
ก.น้ำนมประเสริฐ ข. น้ำนมชั้นโท
ค.น้ำนมดีเลิศ ง. น้ำนมเอก
20.อาการเจ็บป่วยของเด็กตั้งแต่ในครรภ์จนคลอดถึงอายุ 5 ขวบ เรียกว่า
ก. ซางเจ้าเรือน ข. ซางสะกอ
ค. ซางจร ง. ซางโจร
21.เป็นกับเด็กแรกเกิด เพราะไอร้อนในช่องท้อง ทำให้เกิดฝ้าลักษณะเป็นปุยสีขาวในช่องปาก
ลำคอ กระพุ้งแก้ม หรือบนลิ้นเป็นฝ้าบางๆไม่มีเม็ดยอด มีสีต่างๆกันเรียกว่า
ก. หละ ข. ละออง
ค. ซาง ง.สะพั้น
22.เป็นโรคติดเชื้อราในช่องปากของเด็กแรกเกิดถึง 3 เดือน ฝ้าขาวเป็นแผ่นหนา มีเม็ดเรียบหรือยอดแหลมผุดขึ้นที่เหงือกและเพดานปากของเด็ก มีสีต่างๆกัน เรียกว่า
ก. ละออง ข.ซาง
ค.หละ ง.สะพั้น
23.พยาธิ์ใส้เดือนคือ
ก.กุฏฐะกาละหิระ ข. ชตะกาละหิระ
ค.วิวรณ์กาละหิระ ง. สุจิมุขะกาละหิระ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น