ตรีธาตุ มี ๒ ลักษณะ คือ หยาบเห็นได้ กับ ละเอียดเห็นไม่ได้
ตรีธาตุลักษณะหยาบ
ศเลษมะ ลักษณะหยาบ เป็นน้ำด่าง เป็นน้ำลาย มีเมือก หรือ มูกมาก สำหรับย่อยแป้งและอาหารต่างๆ ที่มีรสหวาน (มธุรรส) และรสเค็ม (ลวนะรส) เป็นวัตถุกึ่งน้ำกึ่งดิน [ดิน ณ ที่นี้หมายถึงของแข็ง (Solid) ] ตำแหน่งสำคัญอยู่ที่ อามาศัย (คือ ที่ปากและตอนต้นของกระเพาะอาหาร)
ปิตตะ ในลักษณะหยาบ เป็นกรด ค่อนข้างเป็นน้ำมากกว่าดิน เป็นน้ำย่อยอาหาร และดูดอาหารประเภทรสเปรี้ยว (อมลรส) ตำแหน่งเดิมของปิตตะ อยู่ที่ ปจยมานาศัย (คือ ตอนล่างกระเพาะอาหาร และตอนต้นลำไส้เล็ก)
วายุ ในลักษณะหยาบ อยู่ในมหาโศรต ตอน
ปกวาศัย (ลำไส้เล็ก) เป็นน้ำย่อยอาหาร มีรสขม ระเหยได้ มีอำนาจย่อยและดูดอาหาร
และยาจำพวกรสร้อน (กฏุ) รสขม (ติกตะ) และรสฝาด (กษายะ)
ศเลษมะ ลักษณะหยาบ เป็นน้ำด่าง เป็นน้ำลาย มีเมือก หรือ มูกมาก สำหรับย่อยแป้งและอาหารต่างๆ ที่มีรสหวาน (มธุรรส) และรสเค็ม (ลวนะรส) เป็นวัตถุกึ่งน้ำกึ่งดิน [ดิน ณ ที่นี้หมายถึงของแข็ง (Solid) ] ตำแหน่งสำคัญอยู่ที่ อามาศัย (คือ ที่ปากและตอนต้นของกระเพาะอาหาร)
ปิตตะ ในลักษณะหยาบ เป็นกรด ค่อนข้างเป็นน้ำมากกว่าดิน เป็นน้ำย่อยอาหาร และดูดอาหารประเภทรสเปรี้ยว (อมลรส) ตำแหน่งเดิมของปิตตะ อยู่ที่ ปจยมานาศัย (คือ ตอนล่างกระเพาะอาหาร และตอนต้นลำไส้เล็ก)
วาตะ ปิตตะ และ ศเลษมะ ทั้ง ๓ อย่างนี้
แม้ว่าจะมีแผ่ซ่านทั่วไปทั้งร่างกาย แต่มีที่ตั้งที่สำคัญที่พอจะจำแนกได้
ดังต่อไปนี้
ธาตุและตำแหน่งที่ตั้ง
ศเลษมะ (กผะ เสมหะ อาโป น้ำ)
|
ปิตตะ (เตโช อัคนี ไฟ)
|
วาตะ (วายุ วาโย ลม)
|
กเลทกะ - ภายในช่องปาก
อามาศัย - กระเพาะอาหาร
อวลัมพกะ - อก โพธกะ - ลิ้น ตรปกะ – หัว สมอง ศเลษกะ - ข้อกระดูก |
ปาจกะ - ระหว่าง อามาศัย(กระเพาะอาหาร) กับไส้เล็ก
(ปกวาศัย)
รนชกะ - ตับ ม้าม สาธกะ - หัวใจ อาโลจกะ - เยื่อชั้นในสุดของนัยน์ตา (Retina) ภราชกะ - หนัง |
ปราณะ - หัว คอ อก
อุทานะ - อก คอ ท้องส่วนบน สมานะ - ท้องส่วนสะดือ กลางท้อง วยานะ - หัวใจ และร่างกายทั่วไป อปานะ - อุ้งเชิงกราน และส่วนล่างลงไป |
คุณภาพหรือลักษณะธาตุ
|
วาตะ(วายุ
หรือ วาโย)
|
ปิตตะ
|
ศเลษมะ เสมหะ เสลด หรือกผะ
|
ลักษณะ
|
(๑) รุกษา (แห้ง) (๒) ลหุ (เบา) (๓) ศีตะ (เย็น) (๔) ขระห
(ขรุขระ) (๕) สุกษมะ (แลไม่เห็น) (๖) จละ หรือ จลนะ (เคลื่อนไหว)
|
(๑) สเนหะ (ข้นเหนียวเล็กน้อย) (๒) ตีกษณะ (ว่องไว) (๓) อุษณา
(ร้อน) (๔) ลหุ (เบา) (๕) วิศรุม (มีกลิ่นคาวเลือดนิดหน่อย) (๖) ศรมะ
(ซึมซาบเร็ว) (๗) ทรวัม (เหลว)
|
(๑) สนิคธะ (เหนียวมาก) (๒) ศีตะ (เย็น) (๓) คุรุ (หนัก) (๔)
มณฑะ (แช่มช้า) (๕) สลักษณะ (อ่อน) (๖) มรุตสนะ (ลื่น) (๗) สถิระ (สถิตนิ่ง)
|
รส
|
มีรสฝาด
|
รสขม ร้อน เหนียวเป็นยางนิดหน่อย ซึมซาบเร็ว
|
ถ้าดิบรสเค็ม ถ้าสุกรสหวาน
|
สี
|
อรุณ (สีแดง)
|
ถ้าดิบเป็นสีเขียว ถ้าสุกเป็นสีเหลือง
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น