ตารางฟังก์ชั่นของตรีโทษ
หน้าที่ของตรีโทษ
|
Vata
วาตะ
|
Pitta
ปิตตะ
|
Kapha
ศเลษมะ
|
เกี่ยวข้องกับ
|
ระบบประสาท
|
ระบบเลือด
|
ระบบน้ำเหลือง
|
การทำงาน
|
เคลื่อนไหว
|
การย่อยอาหาร
|
การหล่อลื่น
|
ถ้าไม่ขับมละ(ของเสีย)ออก
|
ทำให้ท้องอืดลม เกิดโทษ
|
ทำให้ธาตุพิการและดีซ่าน
|
ทำให้ร่างกายคั่งบวม
|
มละที่ขับออก
|
ลมที่ผายออกมา
|
น้ำดี
|
เสลดที่ขากออกมา
|
อาการที่เป็น
|
อาการเจ็บป่วย
|
แสบร้อนและอักเสบ
|
อาการเป็นฝีเป็นหนอง
|
ไม่ปกติ
|
มีอาการทางจิตและประสาท
|
เป็นไข้ ถ้าตัวร้อนมาก หรือมีอาการทารุณ
|
จะรู้สึกหนักเนื้อหนักตัว และตามเนื้อหนังเปียก
|
พิการ
|
เจ็บไข้มีอาการทางสมองและประสาท
|
เจ็บทางท้อง
|
เจ็บไข้ทางอวัยวะเครื่องหายใจ
|
เมื่อปกติ
|
มีจิตมีใจ
ทำให้เกิดความเอาใจใส่ ขยันหมั่นเพียร มีชีวิตจิตใจ
|
เกิดสติปัญญา ความคิด ความจำ
|
เกิดกำลัง ความอดทน และกล้าหาญ
|
เมื่อกำเริบ
|
มีความเศร้าโศกเสียใจห่วงใย
|
มีความโกรธ
|
เมื่อเวลาใจห่อเหี่ยว
|
การักษาที่ต้นตอ
|
ให้สูบสวนล้างท้องเอาพิษออก
|
ให้ยาระบายหรือยาถ่าย
|
ให้อาเจียน หรือยาที่เกี่ยวกับเสมหะพิการ
|
"ความสมดุลระหว่าง Tridosha เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับสุขภาพ."
ไข้ใดมีอาการทั้งสามอย่างนี้
คือ ทั้ง วาตะ ปิตตะ และ ศเลษมะ ไข้นั้นเป็นสันนิปาตะ (สันนิบาต) คือ
ประชุมพร้อมกัน ทั้งตรีโทษ การดูไข้สันนิบาต
จะต้องสอบสวนตรวจดูให้รู้ว่าอะไรเป็นโทษต้น หรือประธานิกโทษ (เกิดก่อน Primary) และอะไรเป็นโทษรอง หรือ อนุจรโทษ (เกิดตามที่หลัง Secondary) และโทษไหนรุนแรง ต้องแก้ก่อน โทษไหนอ่อน แก้ทีหลัง
ตรีโทษที่เกิดประดังกันเป็น สันนิปาตะ เรียก สันนิปาตะ ชวรา (ไข้สันนิบาต)
ซึ่งจำแนกออกไปอีกมาก
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น