คัมภีร์ไพจิตรมหาวงศ์ ได้กล่าวถึงลักษณะและประเภทของฝี
ได้แบ่งฝีออกเป็น ๒ ประเภทคือ
ฝีชนิดคว่ำและหงาย เป็นเม็ดยอดเดียว เกิดภายนอก ในตำแหน่งต่างๆกัน ที่ด้านหน้าและหลังของร่างกาย และยังได้ให้คำแนะนำแพทย์ด้วยว่า
การรักษาฝีให้หายนั้นต้องให้รีบรักษาตั้งแต่เริ่มเป็น
คือในช่วงที่หัวฝียังอ่อนอยู่ ช่วง ๑-๓ วันแรก แต่หลังจาก ๖ วันไปแล้ว ฝีจะแตกก็อาจเป็นอันตรายได้เนื่องจากรักษาลำบาก
คัมภีร์ทิพย์มาลา กล่าวถึงลักษณะของวัณโรคที่บังเกิดแต่ภายใน เกิดเพื่อจตุธาตุและตรีสมุฎฐาน ระคนเข้ากันแล้วตั้งต่อมชั้นหรือเรียกว่าฝีวัณโรค ตามคัมภีร์นี้ได้แบ่งฝีวัณโรคออกเป็น ๑๙ ประการ มีชื่อเรียกแตกต่างกันออกไป ฝีแต่ละอย่างก็จะมีลักษณะการเกิดที่แตกต่างกันแต่อาการที่ปรากฏก็จะคล้ายๆกันนอกจากนี้ยังได้บอกถึงตำรับยาที่จะนำมารักษาฝีเหล่านี้ด้วย
คัมภีร์ไพจิตรมหาวงศ์
ลักษณะฝีภายนอก
ฝียอดเดี่ยวชนิดหงาย ฝียอดเดี่ยวชนิดคว่ำ
|
||||||||||||||||
ฝียอดเดี่ยว |
ชนิดหงายประเภทที่ ๑ให้ร้อน, หนาว คลุ้มคลั่ง ขนลุกชัน เนื้อเต้น ตาแดง
|
หงายประเภทที่ ๒ เกิดในเดือน ๕,๖,๗,๘,๙,๑๐เพื่อ
ดี ลม เสมหะ ระคนกัน ขึ้นในคอ กกหู รักแร้ คาง ไหล่อกซ้ายเมีย ขวาผู้ |
||||||||||||||
ชนิดคว่ำประเภทที่ ๑ ให้จับเชื่อมมึน
หอบ สะอึก ชักมือกำ เท้ากำ
|
ชนิดคว่ำประเภทที่ ๒ เกิดในเดือน ๑๑,๑๒,๑,๒,๓,๔,
เพื่อ ลม น้ำเหลือง กำเดา ระคนกัน ขึ้นกระหม่อม ลำตัว สันหลังใต้ศอก รักแร้ เป็นผื่น |
|||||||||||||||
ทิพย์มาลา ฝีวัณโรค
ฝีภายใน
๑๙
ประการ
|
๑.ฝีปลวก
เกิดที่อกหัวใจไปตามสันหลัง ผอม ไอ เหม็นคอ กิน นอนไม่ได้
อันตังพิการ |
๒.ฝีกุตะณะราย ให้แน่นในอกกลางคืน จับไข้ ปอดพิการ
|
๓.ฝีมานทรวง ให้หายใจขัด ในทรวงเจ็บ แน่น ทั้งวันและคืน ไอ เสมหะเหนียว ปอดพิการ
|
๔.ฝีธนูธรวาต
ให้เจ็บหน้าอกตลอดสันหลัง ปวดเมื่อยทุกข้อกระดูก ขัดอุจ/ปัส ท้องขึ้น ผอม /ปอด อัฏฐิ มังสังพิการ
|
๕.ฝีรากชอน
ให้บวมตามเกลียวปัตคาด ไข้ ขนลุก ตัวแข็ง /ปัถวี มังสังพิการ
|
|||||||||||
๖.ฝียอดคว่ำ
ให้ปวดท้องน้อยถึงทวารหนัก หน้าสะโพก ไข้ /ปัถวี มังสัง พิการ
|
๗.ฝีรวงผึ้ง
ให้แน่นชายตับ ให้ตัว ตา หน้า ปัสเหลือง
|
๘.ฝีมะเร็งทรวง
ให้ถ่ายเป็นมูกเลือด บิด ปวดเสียด แน่น จุกแดก ไอ หอบ ผอม เมื่อยกระดูก
|
๙.ฝีธรสูตรให้เจ็บปวดสันหลัง
จุกแดก เมื่อย เสียด ผอม
|
๑๐.ฝีธนูทวน ให้ฟกบวมตามเส้นสัณฑะฆาต ตึงหลัง ลุกนั่งไม่ได้ ท้องบวม
|
||||||||||||
๑๑.ฝีสุวรรณเศียร
เกิดที่สมองกระดูก ขึ้นดอกหูหนู รากถึงหัวใจ ตามืด หูตึง ปวดหัวมาก ร้อน ตา หู กระหม่อม
|
๑๒.ฝีทันตะกุฏฐัง(ขวา)/ทันตะมุนลัง (ซ้าย) บังเกิดในกรามเม็ดข้าโพด แตกออกเป็นดอกลำโพง เปี่อยลาม
|
๑๓.ฝีทันตะมูลา
เกิดที่ แก้มซ้าย และขวาเหมือนปูนกัด ฟกบวมออกมาเหมือนดอกลำโพง
|
๑๔.ฝีราหูกลืนจันทร์
เกิดใต้ลิ้น เหมือนดวงจันทร์ อ้าปากเห็นครึ่งในลำคอ
|
|||||||||||||
๑๕.ฝีฟองสมุทร์
เกิดในคอ ,ต้นขากรรไกรเพื่อวาโย กลืนไม่ได้เป็นหนองปวดมากสบัดร้อน/หนาวเชื่อมมัว ร้อนศรีษะเป็นยาปะยะโรค(รักษาได้)
|
๑๖.ฝีครีบกรต/แรด เกิดตามครีบชิวหา(ลิ้น) เท่าเม็ดถั่วเขียว แข็งเหมือนหูดแดง ลิ้นแข็ง แก่แล้วเปื่อยลามทะลุ คางเป็นหนองไหล เหม็นเหมือนศพ แก้ยังอ่อน
|
๑๗.ฝีอุระคะวาต
เกิดตามกระดูกสันหลังข้างใน กระดูกบนถึงด้านล่างจากลมสุนทรวาต พัดไฟ น้ำไม่เสมอ จกเสียดถ่าย ๒-๓ แล้วหายไปขัดอุจ/ปัส ลงดุจบิดนอนไม่หลับกินไม่ได้ ตาแดง บวม ร้อน
|
๑๘.อัคนีสันทวาต
เกิดต้นขั้วกระเพาะปัสสาวะ เพราะวาโยพัดไม่สะดวกล้มฟกช้ำบวม
|
|||||||||||||
๑๙.ฝีดาวดาษฟ้า น้ำลาย เสมหะ โลหิตระคน เกิดเป็นเม็ดขึ้นภายใน
ตับ ปอด หัวใจ
ไส้ใหญ่ ไส้น้อย เจ็บตรงที่เป็น บวมเท้า ถ่ายเป็นเลือดเน่าบวมหนองรักษายาก
|
หมายเหตุ ในการอ่านสรุปคัมภีร์
ควรอ่านเนื้อหาในหนังสือทั้งหมดก่อนอย่างน้อย ๑ รอบ แล้วมาอ่านสรุปจะทำให้เข้าใจ
ภาพรวมทั้งหมดยิ่งขึ้น
ตัวอย่างข้อสอบในคัมภีร์
ข้อ 1. บางทีจับให้เซื่อมมึน บางทีให้ร้อนในกระหายน้ำ หอบ สอึก บางทีให้จุกเสียด
ข้อมือกำ เท้างอ มือสั่น
บางทีให้ปวดแสบปวดร้อน เป็นกำลัง เป็นลักษณะของ
1. ฝียอดเดียวชนิดคว่ำประเภทที่ 3 2. ฝียอดเดียวชนิดคว่ำประเภทที่ 4
3. ฝียอดเดียวชนิดหงายประเภทที่ 1 4. ฝียอดเดียวชนิดหงายประเภทที่ 2
ข้อ 2. ฝีที่มักขึ้นที่กระหม่อม กำด้น สันหลัง ขาทั้งสองข้าง ใต้ศอก ใต้รักแร้ ไหล่ทั้งสอง เป็นฝีชนิดใด
1. ชนิดคว่ำประเภทที่ 1 2. ชนิดคว่ำประเภทที่ 2
3. ชนิดหงายประเภทที่ 1 4. ชนิดหงายประเภทที่ 2
ข้อ 3. ฝียอดเดียวคว่ำประเภทที่ 4 ถ้าเกิดในเดือน 11- เดือน 4 เนื่องจากเหตุใด
1. ดี ลม เสมหะ ระคนกัน 2. ลม น้ำเหลือง กำเดา ระคนกัน
3. ดี น้ำเหลือง โลหิตระคนกัน 4. โลหิต ลม เสมหะ ระคนกัน
ข้อ 4. " อุปปาติกะวัณโรค" บังเกิดด้วยอาโปธาตุ คือฝีชื่ออะไร
1. ฝีมานทรวง 2. ฝีกุตะณะราย
3. ฝีมะเร็งทรวง 4. ฝีดาวดาษฟ้า
ข้อ 5. คัมภีร์ทิพย์มาลา ได้กล่าวถึงลักษณะฝีไว้กี่ประการ
1. 10 ประการ 2. 15 ประการ
3. 17 ประการ 4. 19 ประการ
ข้อ 6. ลักษณะฝียอดเดียวชนิดหงาย 2 ถ้าบังเกิดในเดือน 5-6-7-8-9-10 เกิดเพื่ออะไร
1. เพื่อลม น้ำเหลือง กำเดาระคนกัน 2. เพื่อ ดี ลม เสมหะระคนกัน
1. ฝียอดเดียวชนิดคว่ำประเภทที่ 3 2. ฝียอดเดียวชนิดคว่ำประเภทที่ 4
3. ฝียอดเดียวชนิดหงายประเภทที่ 1 4. ฝียอดเดียวชนิดหงายประเภทที่ 2
ข้อ 2. ฝีที่มักขึ้นที่กระหม่อม กำด้น สันหลัง ขาทั้งสองข้าง ใต้ศอก ใต้รักแร้ ไหล่ทั้งสอง เป็นฝีชนิดใด
1. ชนิดคว่ำประเภทที่ 1 2. ชนิดคว่ำประเภทที่ 2
3. ชนิดหงายประเภทที่ 1 4. ชนิดหงายประเภทที่ 2
ข้อ 3. ฝียอดเดียวคว่ำประเภทที่ 4 ถ้าเกิดในเดือน 11- เดือน 4 เนื่องจากเหตุใด
1. ดี ลม เสมหะ ระคนกัน 2. ลม น้ำเหลือง กำเดา ระคนกัน
3. ดี น้ำเหลือง โลหิตระคนกัน 4. โลหิต ลม เสมหะ ระคนกัน
ข้อ 4. " อุปปาติกะวัณโรค" บังเกิดด้วยอาโปธาตุ คือฝีชื่ออะไร
1. ฝีมานทรวง 2. ฝีกุตะณะราย
3. ฝีมะเร็งทรวง 4. ฝีดาวดาษฟ้า
ข้อ 5. คัมภีร์ทิพย์มาลา ได้กล่าวถึงลักษณะฝีไว้กี่ประการ
1. 10 ประการ 2. 15 ประการ
3. 17 ประการ 4. 19 ประการ
ข้อ 6. ลักษณะฝียอดเดียวชนิดหงาย 2 ถ้าบังเกิดในเดือน 5-6-7-8-9-10 เกิดเพื่ออะไร
1. เพื่อลม น้ำเหลือง กำเดาระคนกัน 2. เพื่อ ดี ลม เสมหะระคนกัน
3. เพื่อ ดี โลหิต เสมหะระคนกัน
4. ไม่มีข้อใดถูก
ข้อ 7. คัมภีร์ทิพย์มาลา
กล่าวถึงอะไร
1. ลักษณะของอติสาร 2. ลักษณะของฝีภายใน
3. ลักษณะของฝีภายนอก 4. ลักษณะของฝีกาฬ
1. ลักษณะของอติสาร 2. ลักษณะของฝีภายใน
3. ลักษณะของฝีภายนอก 4. ลักษณะของฝีกาฬ
ข้อ 8. ฝีหนึ่งเกิดใต้ลิ้น
สัณฐานดังดวงจันทร์ อ้าปากออกเห็นหนึ่งลับอยู่ในลำคอ ไม่เห็นครึ่งหนึ่ง ให้ฟก
บวมเป็นกำลัง
กินข้าวกินน้ำมักให้ สำลักทางจมูก ถ้าแก่แดงดังผลอุทุมพร ฝีนั้นชื่ออะไร
1. ฝีฟองสมุทรร์ 2. ฝีทันตมูลา
3. ฝีครีบกรด 4. ฝีราหูกลืนจันทร์
ข้อ 9. แรกเป็นมีอาการให้ยอกเสียด หายใจขัดในทรวงอก เจ็บหน้าอกทั้งกลางวันและกลางคืน เสมหะ
1. ฝีฟองสมุทรร์ 2. ฝีทันตมูลา
3. ฝีครีบกรด 4. ฝีราหูกลืนจันทร์
ข้อ 9. แรกเป็นมีอาการให้ยอกเสียด หายใจขัดในทรวงอก เจ็บหน้าอกทั้งกลางวันและกลางคืน เสมหะ
เหนียว ซูบผอมให้แน่นหน้าอกเป็น กำลัง
1. ฝีวัณโรคชื่อฝียอดคว่ำ 2. ฝีวัณโรคชื่อฝีรากชอน
3. ฝีวัณโรคชื่อฝีธนูทวน 4. ฝีวัณโรคชื่อฝีมารทรวง
1. ฝีวัณโรคชื่อฝียอดคว่ำ 2. ฝีวัณโรคชื่อฝีรากชอน
3. ฝีวัณโรคชื่อฝีธนูทวน 4. ฝีวัณโรคชื่อฝีมารทรวง
ข้อ 10. ฝีที่มักขึ้นที่กระหม่อม
กำด้น สันหลัง ขาทั้งสองข้าง ใต้ศอก ใต้รักแร้ ไหล่ทั้งสอง เป็นฝีชนิดใด
1. ชนิดคว่ำประเภทที่ 1
2. ชนิดคว่ำประเภทที่ 2
3. ชนิดหงายประเภทที่ 1 4. ชนิดหงายประเภทที่ 2
ข้อ 11. ฝียอดเดียวคว่ำประเภทที่ 4 ถ้าเกิดในเดือน 11-เดือน 4 เนื่องจากเหตุใด
1. ดี ลม เสมหะ ระคนกัน 2. ลม น้ำเหลือง กำเดา ระคนกัน
3. ดี น้ำเหลือง โลหิตระคนกัน 4. โลหิต ลม เสมหะระคนกัน
ข้อ 12. "อุปปาติกะวัณโรค" บังเกิดด้วยอาโปธาตุ คือฝีชื่ออะไร
1. ฝีมานทรวง 2. ฝีกุตะณะราย
3. ฝีมะเร็งทรวง 4. ฝีดาวดาษฟ้า
ข้อ 13. ฝีหนึ่งเมื่อจะบังเกิด ทำให้เจ็บปวดสันหลัง ให้เมื่อย ให้จุกแดกเป็นกำลัง ให้เสียดในอุทร ให้
3. ชนิดหงายประเภทที่ 1 4. ชนิดหงายประเภทที่ 2
ข้อ 11. ฝียอดเดียวคว่ำประเภทที่ 4 ถ้าเกิดในเดือน 11-เดือน 4 เนื่องจากเหตุใด
1. ดี ลม เสมหะ ระคนกัน 2. ลม น้ำเหลือง กำเดา ระคนกัน
3. ดี น้ำเหลือง โลหิตระคนกัน 4. โลหิต ลม เสมหะระคนกัน
ข้อ 12. "อุปปาติกะวัณโรค" บังเกิดด้วยอาโปธาตุ คือฝีชื่ออะไร
1. ฝีมานทรวง 2. ฝีกุตะณะราย
3. ฝีมะเร็งทรวง 4. ฝีดาวดาษฟ้า
ข้อ 13. ฝีหนึ่งเมื่อจะบังเกิด ทำให้เจ็บปวดสันหลัง ให้เมื่อย ให้จุกแดกเป็นกำลัง ให้เสียดในอุทร ให้
ซูบผอม
บริโภคอาหารมิได้ คือฝีอะไร
1. ฝีธนูทวน 2. ฝีธรสูตร
3. ฝีสุวรรณเศียร 4. ฝีมะเร็งทรวง
1. ฝีธนูทวน 2. ฝีธรสูตร
3. ฝีสุวรรณเศียร 4. ฝีมะเร็งทรวง
14. ฝีภายในข้อใด เมื่อจะบังเกิดให้บวมเป็นลำขึ้นไปตามเกลียวปัตฆาต
ให้สะบัดร้อนสะท้านหนาว
ให้ตัวแข็งกระด้าง จะลุกนั่งให้ยอกเสียว ไหวตัวไม่ได้
ก. ฝีธนูทวน
ข. ฝีธนูธรวาต
ค. ฝีธรสูตร ง. ฝีรากชอน
15. ฝีภายในข้อใด เมื่อจะบังเกิดให้ตึงแน่นในทรวง
กระทำพิษกลางคืนมากกว่ากลางวัน จับสะบัด
ร้อนสะท้านหนาว บริโภคอาหารไม่ได้
นอนไม่หลับ
ก. ฝีปลวก ข. ฝีกุตะณาราย
ค. ฝีมานทรวง ง. ฝีธนูธรวาต
16. ฝีภายในข้อใด เมื่อจะบังเกิดให้ปวดอยู่ที่ท้องน้อย
ล่วงลงไปถึงทวารหนัก ให้ปวดไปถึงหน้าตะโพก
ให้จับเป็นเวลา สะบัดร้อนสะท้านหนาว ให้ปวดแต่กลางคืน
กลางวันคลายลงบ้าง
ก. ฝีธนูทวน
ข. ฝียอดคว่ำ
ค. ฝีธรสูตร ง. ฝีอัคนีสันทวาต
17.
ฝีภายในข้อใด เกิดขึ้นตามกระดูกสันหลังข้างใน
ให้เจ็บในอกและชายสะบัก จับสะบัดร้อนสะท้าน
หนาว บางทีให้บวมตั้งแต่ไหล่ถึงเอว ให้เจ็บทุกข้อทุกกระดูกสันหลังด้านนอก
รู้ไม่ถึงย่อมเสียเป็นอันมาก
ให้รักษาแต่ยังอ่อน
ก. ฝีมะเร็งทรวง
ข. ฝีอุระกะวาต
ค. ฝีธรสูตร
ง. ฝีธนูธรวาต
18. ฝีภายในข้อใด กระทำให้เจ็บในลำคอเป็นกำลัง
กลืนข้าวกลืนน้ำไม่ได้ ทำพิษให้สะบัดร้อนสะท้าน
หนาว ดุจไข้จับ เป็นยาปะยะโรค
ก. ฝีทันตะมูลา
ข. ฝีครีบกรด
ค. ฝีฟองสมุทร
ง. ฝีราหูกลืนจันทร์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น