วันอังคารที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2557

ความรูเบื้องตนและขอแนะนําในการใชสมุนไพร



ความรูเบื้องตนและขอแนะนําในการใชสมุนไพร
การใชสมุนไพรที่ถูกตอง ควรปฏิบัติดังนี้
1. ใชใหถูกตน สมุนไพรนั้นมีชื่อพ้องหรือชื่อเรียกซ้ำกันมากและพบวาบางทองถิ่นก็เรียกไมเหมือนกันจึงจําเปนตองรูจักสมุนไพรและมีการใชใหถูกตน
2. ใชใหถูกสวน ตนสมุนไพรไมวาจะเปนราก ใบ ดอก เปลือก ผลเมล็ด จะมีฤทธิ์ไมเทากัน บางทีผลแก ผลออนก็มีฤทธิ์
ตางกันดวยจะตองรูวาสวนใดใชเปนยาได
3. ใชใหถูกขนาด สมุนไพรถาใชนอยไป ก็รักษาไมไดผล แตหากถามากไปก็อาจเปนอันตรายหรือเกิดพิษตอรางกายได
4. ใชใหถูกวิธี สมุนไพรบางชนิดตองใชสด บางชนิดตองปนกับเหลาบางชนิดใชตม ดังนั้นจะตองรูวิธีใชใหถูกตอง
5. ใชใหถูกกับโรค เชน ทองผูกตองใชยาระบาย ถาใชยาที่มีฤทธิ์ฝาดสมานจะทําใหทองผูกยิ่งขึ้น

อาการแพที่เกิดจากสมุนไพร
สมุนไพรมีคุณสมบัติเชนเดียวกันกับยาทั่วไป คือมีทั้งคุณและโทษ บางคนใช้แลวเกิดอาการแพได แตเกิดขึ้นไดนอยเพราะสมุนไพรมิใชสารเคมีชนิดเดียวเชนยาแผนปจจุบันฤทธิ์จึงไมรุนแรง (ยกเวนพวกพืชมีพิษบางชนิด) แตถาเกิดอาการแพขึ้นควรหยุดยาเสียกอน ถาหยุดแลวอาการหายไป

อาการที่อาจเกิดจากการแพยาสมุนไพร มีดังนี้
1. มีผื่นขึ้นตามผิวหนังอาจเปนตุมเล็กๆ ตุมโตๆ เปนปนหรือเปนเม็ดแบนคลายลมพิษ อาจบวมที่ตา (ตาปด) หรือริมฝปาก (ปากเจอ) หรือมีเพียงดวงสีแดงที่ผิวหนัง
2. เบื่ออาหาร คลื่นไส อาเจียน (หรืออยางใดอยางหนึ่ง) ถามีอยูกอนกินยาอาจเปนเพราะโรค ไมใชเพราะยา
3. หูอื้อ ตามัว ชาที่ลิ้น ชาที่ผิวหนัง
4. ประสาทรับความรูสึกทํางานไวเกินปกติ เชน เพียงแตะผิวหนังก็รูสึกเจ็บ ลูบผมก็แสบหนังศีรษะ
5. ใจสั่น ใจเตน หรือรูสึกวูบวาบคลายหัวใจจะหยุดเตน และเปนบอยๆ
6. ตัวเหลือง ตาเหลือง  (เป็นอาการของดีซ่าน) อาการนี้แสดงถึงอันตรายร้ายแรงต้องรีบไปหาแพทย์ 

ก่อนที่จะใช้สมุนไพรควรจะศึกษาข้อมูลหรือถามผู้รู้ก่อนใช้ เพื่อจะได้ใช้ประโยชน์กับสมุนไพรได้อย่างเต็มที่

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น