วันอาทิตย์ที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

พรบ.สถานพยาบาล

            

พระราชบัญญัติสถานพยาบาล

พระราชบัญญัติสถานพยาบาล ประกาศ ๒๔ มีนาคม ๒๕๔๑  บังคับใช้ ๒๕ มีนาคม ๒๕๔๑
 
วัตถุประสงค์  เพื่อคุ้มครองประชาชนผู้รับบริการจากสถานพยาบาล
1. สถานพยาบาล  คือสถานที่ รวมถึงยานพาหนะ (ประเภทของยานพาหนะ พิจารณาตามที่เหมาะสม)
ต้องจัดไว้เพื่อการประกอบโรคศิลปะ, วิชาชีพเวชกรรม, วิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์ หรือการประกอบวิชาชีพทันตกรรม
2. ผู้ป่วย คือผู้ขอรับบริการในสถานพยาบาล ไม่ว่าบริการใดๆ
3. ผู้รับอนุญาต ( ไม่ต่ำ ๒๐ อยู่ในประเทศ ไม่ควรล้ม ) คือผู้ได้รับอนุญาตให้ประกอบการสถานพยาบาล ไม่ใช่ ตั้ง (หากฝ่าฝืน เปิด / ดำเนินการ โดยไม่มีใบอนุญาต จำคุก ๓ ปี ปรับไม่เกิน ๖๐,๐๐๐ บาท) ไม่ต้องมีใบประกอบโรคศิลปะ
 
4. ใบอนุญาต ( สถานพยาบาลชื่อแผน ผู้ประกอบเครื่องมือ ) ให้ประกอบกิจการสถานพยาบาล ไม่ใช่เพียงตั้งสถานพยาบาล (ต้องมีทะเบียนบ้านในไทย)
 
5. ใบอนุญาตมี ๒ ประเภท คือ ค้างคืน และไม่ค้างคืน (ขอได้ ๒ แต่ค้างคืน ๒ แห่งไม่ได้) 
6. มีผู้ประกอบวิชาชีพ ตามที่รัฐมนตรีกำหนด โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
 
7. มีผู้ดำเนินการ (ผู้จัดการ) ที่เป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ หรือผู้ประกอบวิชาชีพ ดูแลกิจการได้อย่างใกล้ชิด
 
8. ถ้าผู้ดำเนินการไม่อยู่เกิน ๗ วัน ( จำนวนวัน ๗๙๐๓ ) ผู้รับอนุญาตหาผู้ดำเนินการแทนได้ไม่เกิน ๙๐ วัน
(
หมอแทน) ทำหนังสือแจ้งผู้อนุญาต ภายใน ๓ วัน นับจากวันที่เข้าแทน
 
9. ผู้อนุญาต คือปลัดกระทรวงสาธารณสุข หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย กรุงเทพฯ อธิบดีกรมสนับสนุน- บริการสุขภาพ ภูมิภาคให้นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด
 
10. คณะกรรมการสถานพยาบาล ที่เป็นโดยตำแหน่ง ( พอสว. คอยกฤษฎีกา บริโภค ) กรรมการมูลนิธิคุ้มครองผู้บริโภค ไม่ใช่ คณะกรรมการสถานพยาบาล (ตัวแทนสนง.คณะกก.คุ้มครองฯ)
 
11. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่รัฐมนตรีแต่งตั้ง คือ คณะกรรมการประกอบฯแนะนำ ๓ คน สภาวิชาชีพแนะนำ ๖ คน รัฐมนตรีตั้งเองอีกไม่เกิน ๕ คน (จากผู้ดำเนินการ๑ , ผู้แทนกทม. ๑ สนง.อัยการสูงสุด ๑ ) อยู่ในตำแหน่ง ๒ ปี
 
12. รัฐมนตรีมีอำนาจ แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่,กำหนด/ยกเว้นค่าธรรมเนียม,ออกกฎกระทรวง
 
13. การขอ, การออกใบอนุญาต, ประเภทการประกอบกิจการ,การขอต่อ/อนุญาตต่อใบอนุญาต, การโอน/อนุญาตการโอนใบอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ที่กำหนดในกฎกระทรวง (เรื่องนี้เป็นกฎกระทรวง ไม่ได้ตราเป็นกฎหมาย)
 
14. หน้าที่คณะกรรมการ คือให้คำปรึกษา ให้ความเห็นแก่รัฐมนตรี หรือผู้อนุญาต เปิด ปิด เพิกถอน
 
15. เพื่อแก้ปัญหาในการกำกับดูแลสถานพยาบาล ให้คณะกรรมการให้คำแนะนำรัฐมนตรีในการประกาศ กำหนดมาตรฐานการบริการ เช่นปัญหาการหน่วงเหนี่ยวศพ, มาตรฐานการล้างไตผู้ป่วย (รัฐมนตรีโง่)
 
16. รัฐมนตรี โดยคำแนะนำของกรรมการ ประกาศกำหนดจำนวนสถานบริการได้
 
17. ใบอนุญาตประกอบกิจการ ๑๐ ปี นับวันสิ้นปีปฏิทินที่ขอเป็น ๑ ใช้ได้ถึงสิ้นปีปฏิทินที่ ๑๐
 
18. ใบอนุญาตดำเนินการ มีอายุเพียงสิ้นปีปฏิทินที่ ๒ นับจาก ปีที่ออกใบอนุญาต

19. ประกาศอัตราค่ารักษาพยาบาล ค่าบริการ และสิทธิผู้ป่วย เป็นหน้าที่ของผู้รับอนุญาต 

ขอบคุณ www.medimind.net/กฏหมายแพทย์/สถานพยาบาล.html
ตัวอย่างข้อสอบวิชาเวชกรรมไทย  พรบ. สถานพยาบาล

ข้อ 1.   คำว่า ผู้อนุญาต ในพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ.2541 หมายความว่า
1. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข                       2. ผู้อำนวยการกองการประกอบโรคศิลปะ
3. ปลัดกระทรวงสาธารณสุขหรือผู้ที่ปลัดมอบหมาย   4. ริบบรรดาเอกสารหรือสิ่งของที่เกี่ยวกับการกระทำความผิด
ข้อ 2. ผุ้ใดดำเนินการสถานพยาบาลโดยไม่ได้รับอนุญาต อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 24 วรรคหนึ่ง มีโทษประการใด
1. จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
2. จำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
3. จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
4. ปรับไม่เกินวันละหนึ่งหมื่นบาท
ข้อ 3. ผุ้ใดต่อไปนี้มีลักษณะต้องห้ามเป็นผุ้ขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาล
1. แม่ชีจิตอายุ 70 ปี
2. นางสาวใจอยู่ที่ประเทศอเมริกา
3. นายจิตขับรถประมาทชนคนบาดเจ็บสาหัส ศาลมีคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุกหนึ่งปี
4. นายจุกเสียการพนันฟุตบอลล์ไปจนมีหนี้สินรุงรัง
ข้อ 4.  เมื่อท่านเป็นผู้ป่วย และเข้าไปรักษาในคลินิคแพทย์ สิ่งสำคัญที่ท่านควรจะต้องตรวจสอบในคลินิคนั้นคืออะไร
1. ป้ายชื่อคลินิคตรงกับชื่อแพทย์หรือไม่              2. ใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาล
3. วุฒิบัตรแสดงความรู้หรือคุณวุฒิของแพทย์      4. อุปกรณ์การแพทย์รวมทั้งเวชภัณฑ์

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น